3.6 ประสานงานแทนเจ้าของบ้านในการยื่นขออนุญาตก่อสร้างกับหน่วยงานท้องถิ่นโดยผู้เชี่ยวชาญ

ประสานงานแทนเจ้าของบ้าน ในการยื่นขออนุญาตก่อสร้าง

การให้ผู้เชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ ประสานงานแทนเจ้าของบ้านในการยื่นขออนุญาตก่อสร้างกับหน่วยงานท้องถิ่น ช่วยให้กระบวนการเป็นไปอย่างราบรื่น และลดความยุ่งยากที่เจ้าของบ้านต้องเผชิญ ทั้งในเรื่องของการเตรียมเอกสาร การประสานงาน และการติดตามผล จนกว่าจะได้รับใบอนุญาตก่อสร้างที่ถูกต้อง

3.5 การจัดทำรายการคำนวณโครงสร้างโดยวิศวกรมีใบประกอบวิชาชีพ

รายการคำนวนโครงสร้าง

รายการคำนวณโครงสร้าง (Structural Calculation Report) เป็นเอกสารสำคัญที่ใช้ประกอบการออกแบบโครงสร้างอาคาร เพื่อใช้ในการตรวจสอบหลักการคำนวณ และทำให้มั่นใจว่าอาคารสามารถรับน้ำหนัก และแรงต่างๆ ได้อย่างปลอดภัย

3.3 การศึกษาความเป็นไปได้ในการก่อสร้าง

ความเป็นไปได้ในการก่อสร้าง

การก่อสร้างไม่ใช่มีแค่การวางแผน และดำเนินงาน แต่ต้องเริ่มต้นจากการศึกษาความเป็นไปได้ในการก่อสร้าง (Feasibility Study) ซึ่งเป็นขั้นตอนสำคัญที่จะช่วยให้เจ้าของโครงการ นักลงทุน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสามารถมองเห็นภาพรวม และประเมินโครงการได้อย่างรอบด้านก่อนลงมือปฏิบัติจริง

3.2 การวางแนวคิด Concept Design สำหรับบ้านพักอาศัย

การวางแนวคิด Concept Design สำหรับบ้านพักอาศัย

การออกแบบบ้านพักอาศัยที่ดีไม่ใช่แค่การสร้างโครงสร้างที่แข็งแรงเท่านั้น แต่ยังต้องมีแนวคิด (Concept Design) ที่ตอบโจทย์ความต้องการของเจ้าของบ้าน และสะท้อนตัวตนของผู้อยู่อาศัยได้อย่างลงตัว ขั้นตอนนี้จึงเป็นขั้นตอนสำคัญที่ช่วยกำหนดทิศทางการออกแบบ และเป็นจุดเริ่มต้นของบ้านที่สวยงาม และใช้งานได้จริง

1.1.2 ตรวจสอบงานฐานราก ตอม่อ (โครงสร้างใต้ดิน)

ตรวจสอบงานฐานราก

มาตรฐาน และข้อกำหนดวัสดุ คอนกรีตฐานราก
ใช้คอนกรีตผสมเสร็จที่มีกำลังอัดประลัยตามที่ผู้ออกแบบกำหนด หรืออย่างน้อย 210 ksc. (สำหรับทรงกระบอก) เพื่อความแข็งแรง และปลอดภัย ระยะหุ้มที่ปลอดภัย
ระยะหุ้ม ไม่ต่ำกว่า 5 cm. หรือตามที่ผู้ออกแบบกำหนด เนื่องจากงานโครงสร้างใต้ดิน จะสัมผัสกับความชื้นในดินได้ตลอด

5 วิธีรับมือ (ผู้รับเหมาเบิกเงินเกิน)

ผู้รับเหมาเบิกเงินเกิน

5 วิธีรับมือการเบิกเงินล่วงหน้าของผู้รับเหมา(ผู้รับเหมาเบิกเงินเกิน) 1.สอบเหตุ ที่ต้องเบิกล่วงหน้า 2.เจ้าของบ้านเสนอทางเลือกการจัดหาวัสดุให้ผู้รับเหมาเอง 3.แบ่งงวดย่อยลงประเมินผลงานให้เล็กลงว่าพอจ่ายก่อนได้หรือไม่ตามผลงานที่ทำมาแล้ว 4. หากตัดสินใจจ่ายให้จริงๆ เจ้าของทำหนังสือบันทึกเพิ่มระบุข้อตกลงในสัญญาให้ชัดเจน 5.ควรตรวจสอบประวัติผู้รับเหมาอีกครั้ง หรือหากโครงการมีมูลค่าสูงควรจ้างทนายหรือนักสืบตรวจสอบประวัติ

กรณีทั้ง 4 แบบ ที่ต้องมีการเซ็นควบคุมงาน ตอนขออนุญาตก่อสร้าง

ขั้นตอนขออนุญาตก่อสร้างและการเซ็นควบคุมงาน

การขออนุญาตก่อสร้าง เป็นขั้นตอนสำคัญที่เจ้าของบ้านทุกคนต้องดำเนินการ หลังจากที่เตรียมเอกสารครบถ้วนแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการหา ผู้ควบคุมงาน เพื่อ เซ็นรับรองการก่อสร้าง ซึ่งในบทความนี้จะอธิบายกรณีการเซ็นรับรองใน 4 กรณีหลัก เพื่อช่วยให้คุณเข้าใจว่าใครเหมาะที่จะเซ็นควบคุมงานในโครงการของคุณ

1.1.1 ตรวจสอบงานวางผังปักหมุดโครงการ

วางผังปักหมุดโครงการ

งานวางผังปักหมุด คือ
1. ต้องตรวจสอบตำแหน่งหมุดที่ดินให้ถูกต้อง เพื่อหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดในการกำหนดพื้นที่ก่อสร้าง

2. วางตำแหน่งเสาเข็มตามแบบฐานราก
ตำแหน่งเสาเข็มต้องวางให้ถูกต้องตามแบบ และต้องมีการตรวจสอบฉาก และแนวเพื่อความแม่นยำ